ข้อมูลทั่วไป



1.ข้อมูลพื้นฐาน
        1.1 ชื่อสถานบริการ    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัด  อำเภอยะรัง  จังหวัดปัตตานี
  หมู่ 3 ตำบลวัด  อำเภอยะรัง  จังหวัดปัตตานี
        1.2 เจ้าของ/ต้นสังกัด  สังกัดสำนักงานสาธารณสุขอำเภอยะรัง  จังหวัดปัตตานี
1.3 ลักษณะบริการ        หน่วยบริการระดับปฐมภูมิ
1.4. ผู้ประสานงาน        นางรวยริน  เซ่งขุนทอง  ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัด
  โทรศัพท์  081-969-5572    E-Mail address   wad-kohwaii@hotmail.com

ก. สภาพแวดล้อมขององค์กร

2.บริบททั่วไปของพื้นที่
2.1.สภาพแวดล้อมขององค์กร
1.ที่ตั้งของหน่วยบริการ

ตำบลวัดเป็นส่วนหนึ่งในเขตพื้นที่รับผิดชอบเขตการปกครองของอำเภอยะรัง มีพื้นรับผิดชอบทั้งหมด 12 ตำบล ประกอบด้วย 1.ตำบลสะดาวา 2.ตำบลประจัน 3.ตำบลสะนอ 4.ตำบลระแว้ง 5.ตำบลยะรัง 6.ตำบลคลองใหม่   7.ตำบลวัด  8.ตำบลปิตูมุดี  9.ตำบลกระโด  10.เมาะมาวี  11.กอลำ และ12.ตำบลเขาตูม

แผนที่สังเขปตำบลวัด
ภาพที่ 2. แผนที่สังเขปตำบลวัด
2.ประวัติสถานีอนามัย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านเกาะหวาย อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี สร้างขึ้นในปี พ..2517  แต่เดิมเป็นสำนักงานผดุงครรภ์อนามัย ต่อมาในปี 2518ได้มีการต่อเติมอาคาร เป็นสถานีอนามัยตำบลวัดโดยได้รับบริจาคเนื้อที่ 1 งาน จากนายเจริญ  แก้วทอง ต่อมาในปี 2544  สถานีอนามัยได้รับงบประมาณ สนับสนุนก่อสร้างอาคารสูง 2 ชั้น แบบแปลนอาคาร 150 แบบเลขที่ 8170/36 กองแบบแผน สำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข จำนวนเงิน  2,088,000 บาท   ในปี 2552  ได้งบต่อเติมอาคารสถานีอนามัยชั้นล่าง ตามแบบเลขที่ 8170/36 สถานีอนามัยบ้านตูม จ.ยโสธร) กองแบบแผน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ด้วยเงินงบประมาณ 420,000 บาท ซึ่งดำเนินการแล้วเสร็จ เมื่อ 1 มกราคม 2553 และในปี 2554 ได้เปลี่ยนชื่อจากสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดจนถึงปัจจุบัน

3.อาณาเขตติดต่อ
ตำบลวัด มีขนาดพื้นที่ทั้งหมด 10.31 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้ 
             ทิศเหนือ                ติดต่อกับ                หมู่ 3 ตำบลยะรัง และหมู่ 4  ตำบลระแว้ง                   
ทิศใต้                      ติดต่อกับ                หมู่ 2 และหมู่ 5 ตำบลกระโด                                       
ทิศตะวันออก       ติดต่อกับ                ตำบลปาหนัน อำเภอมายอ                                            
ทิศตะวันตก          ติดต่อกับ                หมู่ 3 และหมู่ 5 ตำบลปิตุมุดี
                4.การปกครอง
             ตำบลวัดแบ่งเขตการปกครองออกเป็น  5 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ 1 บ้านวัด                       มีขนาดพื้นที่ 3.00 ตารางกิโลเมตร                                                                                                                                              หมู่ 2 บ้านปูลากูวิง             มีขนาดพื้นที่ 2.00 ตารางกิโลเมตร                                             
หมู่ 3 บ้านเกาะหวาย          มีขนาดพื้นที่ 31.31 ตารางกิโลเมตร                                           
หมู่ 4 บ้านกูแบปาเซ           มีขนาดพื้นที่ 1.00 ตารางกิโลเมตร                                              
หมู่ 5 บ้านปายอกาลูแว      มีขนาดพื้นที่ 1.00 ตารางกิโลเมตร
5.ลักษณะภูมิศาสตร์
ตำบลวัดตั้งอยู่ในเขตอำเภอยะรัง มีระยะห่างจากอำเภอยะรัง ประมาณ 3 กิโลเมตร สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบลวัด เป็นพื้นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรมมีหนองน้ำขนาดใหญ่ พบได้บริเวณ หมู่ 1 และหมู่ 2 และพื้นที่บางส่วนเป็นแหล่งโบราณสถานตั้งแต่ทศวรรษที่ 13-15 ทางกรมศิลปกรได้สำรวจไว้และจดทะเบียนเป็นโบราณสถาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโบราณสถานบ้านจาเละ
6.ลักษณะภูมิอากาศ
เป็นแบบมรสุมเมืองร้อน อากาศอบอุ่นตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ย 27.5 องศาเซลเซียส มีฝนตกตลอดปี และมีฝนตกชุก ตั้งแต่เดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม มีน้ำฝนเฉลี่ย 1,750.9 มล./ปี  มี 2 ฤดูกาล คือฤดูร้อน ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึ กรกฎาคม และฤดูฝนตั้งแต่เดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม
7.การคมนาคม
ตำบลวัดอยู่ห่างจากอำเภอยะรัง เป็นระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร การคมนาคมสะดวก มีถนนลาด ยางเข้าในพื้นที่ ส่วนเส้นทางในพื้นที่ตามละแวกหมู่บ้านเป็นถนนคอนกรีตเป็นส่วนใหญ่และสามารถเดินทางติดต่อได้ตลอดปี
8.การนับถือศาสนา
                ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม จำนวน 4,281 คน คิดเป็นร้อยละ 91.30 และนับถือศาสนาพุทธจำนวน 408 คน คิดเป็นร้อยละ 8.70  มีศาสนถานสำหรับปฎิบัติทางศาสนกิจประกอบด้วยมัสยิดจำนวน 9 แห่ง วัดจำนวน 1 แห่ง


9. การประกอบอาชีพ
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักได้แก่ ทำนา ทำสวนยาง ทำผลไม้ และอาชีพอื่นๆเป็นอาชีพรองเช่น ค้าขาย รับจ้างทั่วไป
10.การศึกษา
                                โรงเรียนระดับประถมศึกษา                                                             จำนวน   2   แห่ง
                                ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนระดับตำบล                            จำนวน   1   แห่ง
                                ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                                                                              จำนวน   1   แห่ง
                11.องค์กรภาคีเครือข่ายสุขภาพ
                                                ชมรม อสม.                                         จำนวน     30  คน
                                                ชมรมกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน                    จำนวน     25  คน
                                                ชมรมผู้นำศาสนา                                จำนวน     75  คน
                                                แกนนำกลุ่มสตรี                                  จำนวน   100  คน
                                                อบต.                                                      จำนวน    15  คน
                                                ชมรมสร้างสุขภาพ                             จำนวน   100 คน
                                                โรงเรียน                                                จำนวน       2 โรง
12. การพัฒนาคุณภาพองค์กร
1.Healthy Work Place ระดับทองแดงปี 2551
2.ผ่านการประเมิน Healthy Work Place ระดับเงิน ปี  2552                                                                  
3.ผ่านเกณฑ์การประเมิน Healthy Work Place ระดับเงิน ปี 2553                                                            
4.ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน PCU ปี 2550 - 2553
13. ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจ
ผลงานเด่น/ความภาคภูมิใจ
กิจกรรม
ผลลัพธ์
1.ชุมชนวัด ร่วมใจ รวมพลัง ต้านภัย ชิคุนกุนยา ( Chikungunya )
งานประกวดมหกรรมคุณภาพและนวัตกรรม ปี 2553
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 (สาขาควบคุมโรคติดต่อ)
2.ชุมชนวัด ร่วมใจ รวมพลัง ต้านภัย  ชิคุนกุนยา ( Chikungunya )
งานประชุมวิชาการสาธารณสุข ใน 5 จังหวัดชายแดนใต้ ปี 2553
รางวัลชมเชย
(สาขาควบคุมโรคติดต่อ)
3. X-SRAY ยุงลายต้านภัยไข้เลือดออก  ปี 2554
งานประกวดมหกรรมคุณภาพและนวัตกรรม ปี 2554
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 (สาขาควบคุมโรคติดต่อ)




2.2 ขอบเขตของการให้บริการ
ให้บริการสุขภาพประชาชนครอบคลุม ทั้ง 5 ด้านได้แก่  1. การส่งเสริมสุขภาพ 2. การป้องกันโรค
3.การรักษาพยาบาล 4. การฟื้นฟูสุขภาพ และ5.การคุ้มครองผู้บริโภค  ดังต่อไปนี้
1.ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ตามชุดสิทธิประโยชน์
-บริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และหญิงวัยเจริญพันธ์
-บริการดูแลเด็ก 0 -6 ปี
-บริการเด็กวัยเรียนและเด็กโต
-บริการดูแลผู้สูงอายุ
-บริการในกลุ่มที่มีอาชีพเสี่ยง
-บริการในกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง
-บริการดูแลในกลุ่มผู้พิการและด้อยโอกาส
-บริการเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย
-บริการส่งเสริม ป้องกันทันตกรรมในโรงเรียน
-การให้ความรู้ในระดับบุคคลและครอบครัว
-การให้คำปรึกษา
2.ด้านการควบคุมป้องกันโรค
-งานควบคุมโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนเช่น โรคไอกรน บาดทะยัก โปลิโอ ฯลฯ
-งานควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคปอดบวม โรคตาแดง และโรคสุกไส
-งานควบคุมโรคเรื้อน
-งานควบคุมโรควัณโรค
-งานควบคุมโรคเอดส์และกามโรค
-งานป้องยาเสตติด
3.ด้านการรักษาพยาบาล
-ปัญหาสุขภาพทั่วไป
-ปัญหาสุขภาพเรื้อรังที่พบบ่อย
-การดูแลที่บ้าน Home Health Care
-การบริการเบื้องต้นกรณีฉุกเฉิน
-การผ่าตัดเล็ก
-การตรวจทางแล็ป เช่น เจาะเลือดหญิงตั้งครรภ์ ตรวจปัสสาวะ (UPT)  ตรวจน้ำตาลในเลือดDM
ตรวจ Pap Smear
4.ด้านการฟื้นฟูสุขภาพ
-Home Health Care ผู้ป่วยเรื้อรังและทุพพลภาพ
5.ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
-อาหารสะอาด ปลอดภัย  Clean Foot Good Test
-ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

2.3 ข้อมูลประชากรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
ตารางที่ 1. แสดงจำนวนประชากรตามกลุ่มอายุแยกตามเพศ ตำบลวัด อ.ยะรัง จ.ปัตตานี ปี 2554
กลุ่มอายุ
จำนวนประชากร (คน)
ชาย
ร้อยละ
หญิง
ร้อยละ
ทั้งหมด
ร้อยละ
0-4
204
4.35
221
4.71
425
9.06
5-9
205
4.37
216
4.61
421
8.98
 10-14
212
4.52
219
4.67
431
9.19
15-19
245
5.22
216
4.61
461
9.83
20-24
171
3.65
177
3.77
348
7.42
25-29
198
4.22
174
3.71
372
7.93
30-34
178
3.80
156
3.33
334
7.13
 35-39
172
3.67
173
3.69
345
7.36
 40-44
135
2.88
158
3.37
293
6.25
45-49
128
2.73
132
2.82
260
5.55
50-54
78
1.66
95
2.03
173
3.69
 55-59
89
1.90
93
1.98
182
3.88
60-64
60
1.28
71
1.51
131
2.79
 65-69
60
1.28
66
1.41
126
2.69
70-74
60
1.28
76
1.62
136
2.90
75 ปีขึ้นไป
116
3.54
135
2.87
251
5.35
รวม
2,311
49.28
2,378
50.72
4,689
100

                                    ที่มา :คลังข้อมูลประชากรกลางปี  (มิ.ย. 2553 )



แผนภูมิแสดงพีรามิดประชากร
แผนภูมิที่1ภาพที่ 3.ปิรามิดประชากรตำบลวัด ปี 2554
ตารางที่ 2. จำนวนหลังคาเรือนและประชากร จำแนกรายหมู่บ้านของตำบลวัดปี 2554



2.4 ข้อมูลสถานะสุขภาพ
ตารางที่ 3. ข้อมูลสถิติชีพ 3ปี ย้อนหลัง(2551-2553)

ตารางที่ 4. จำนวนผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ(21กลุ่มโรค) 10 อันดับ  3 ปีย้อนหลัง ( 2551-2553 )


ตารางที่ 5 รายงานสถานการณ์โรคระบาด  5 อันดับที่สำคัญ 3 ปีย้อนหลัง (ปี2551 - ปี2553)

ตารางที่ 6 จำนวนผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพฯ แยกตามประเภทสิทธิ 3 ปี ย้อนหลัง(2551-2553)
2.5 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร
ตารางที่ 7 แสดงจำนวนบุคลากรจำแนกตามสาขาวิชาชีพ
วิชาชีพ
จำนวน(คน)
พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
1
พยาบาลวิชาชีพ ปฏิบัติการ
1
เจ้าพนักงานสาธารณสุข ชำนาญงาน
2
เจ้าพนักงานสาธารณสุข ปฏิบัติงาน
1
รวม
5
ตารางที่ 8 แสดงสัดส่วนจำนวนบุคลากร/ประชากร/หลังคาเรือนที่รับผิดชอบ
หลังคาเรือน
ประชากร
จำนวนบุคลากร
อัตรากำลัง
สัดส่วน/หลังคาเรือน
สัดส่วน/ประชากร
859
4,689
5
1:171
1:937

ตารางที่ 9  แสดงสัดส่วนภาระงานกับจำนวนบุคลากร(หรือชั่วโมงการทำงาน)
ผู้ป่วยนอกสาขา
ต่อช่วงเวลา
จำนวนผู้ป่วยนอกเฉลี่ย
ชม.ทำงาน OPD ของพยาบาลวิชาชีพ
ผป.นอก / ชม.พยาบาล
รักษาโรคทั่วไป
08.30-16.30น.
25 คน
4 ชม.ต่อวัน
6 คน : 1 ชั่วโมง
อุบัติเหตุ
08.30-16.30
5 คน
4 ชม.ต่อวัน
1 คน : 1 ชั่วโมง
ฝากครรภ์
08.30-12.30
22 คน
8 ชม.ต่อสัปดาห์
3 คน : 1 ชั่วโมง
รับวัคซีน
08.30-12.30
18 คน
8 ชม.ต่อสัปดาห์
2.5 คน : 1 ชั่วโมง
กิจกรรมในชุมชน
08.30-16.30
60 คน
12 ชม.ต่อสัปดาห์
5 คน : 1 ชั่วโมง
กิจกรรมในโรงเรียน
08.30-16.30
350  คน
20 ชม.ต่อเทอม
18 คน : 1 ชั่วโมง


ข.ความท้าทายขององค์กร
2.6 ความท้าทายที่สำคัญ
2.6.1.โรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่
                1. โรคเรื้อรัง
ตารางที่ 10  แสดงจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังปี 2551-2553
โรคเรื้อรัง
จำนวนผู้ป่วย(คน)
2551
2552
2553
ความดันโลหิตสูง
41
26
34
เบาหวาน
4
4
7
               


1.2 โรคติดต่อ
ตารางที่ 11  แสดงอัตราป่วยโรคติดต่อที่เป็นปัญหา ปี 2551-2553
โรคติดต่อ
อัตราป่วย/ประชากรแสนคน
2551
2552
2553
โรคอุจจาระร่วง
1,213.30
1,152.79
1,170.35
โรคไข้เลือดออก
0
20.95
216.73

2.6.2.โรคที่เป็นโอกาสพัฒนา หรือมีข้อจำกัดในการให้บริการ
        - การดูแลผู้ป่วยความดัน เบาหวาน
        - การตรวจมะเร็งปากมดลูก
        - ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
        - การให้บริการวัคซีนในเด็ก 0- 5 ปี
2.6.3 เหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนา/การเปลี่ยนนโยบาย
        - สถานการณ์ความไม่สงบฯ
        - การเปลี่ยนแปลงนโยบาย เช่น จาก PCU เปลี่ยนเป็น รพ.สต.
        - การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
2.6.4 ปัญหาสำคัญที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กำลังพยายามแก้ไข
                - ทีมสหวิชาชีพ
                - การพัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพมาตรฐาน
                - สมรรถนะบุคลากร
2.6.5 ความท้ายทายเชิงกลยุทธ์อื่นๆขององค์กร
        - การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก
        - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
        - การจัดบริการที่รองรับสถานการณ์ความไม่สงบฯ
        - การพัฒนาศักยภาพองค์กรในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
- ร.ร. อสม. เพื่อพัฒนาให้ชุมชนพึ่งตนเอง
- การพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบลเฝ้าระวังเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุขในชุมชน




ค.ทิศทางขององค์กร
3. ทิศทางองค์กร
        3.1 พันธกิจ
                1.พัฒนาระบบบริการและบริหารการจัดการให้มีประสิทธิภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
                2.พัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบองค์รวมให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
                3.ส่งเสริมภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เข้มแข็ง ยั่งยืน   
3.2 วิสัยทัศน์
                หน่วยบริการปฐมภูมิ ที่มีคุณภาพมาตรฐาน   ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมและชุมชนพึ่งตนเองได้อย่างเข้มแข็ง ยั่งยืน
3.3 เป้าประสงค์
                1.ผู้รับบริการ        ผู้รับบริการได้รับบริการที่มีมาตรฐาน สามารถดูแลตนเองได้และพึงพอใจ
                2.ผู้ให้บริการ        ทีมสุขภาพมีความรู้และทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพ
                3.องค์กร                มีมาตรฐานวิชาชีพและเป็นที่ยอมรับของชุมชน
                4.ประชาชน         แสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพและพึ่งตนเองได้ และมีเครือข่ายสุขภาพที่เข้มแข็ง
        3.4 ค่านิยม
                1.ยิ้มแย้ม แจ่มใส บริการเท่าเทียม
                2.องค์กรเอกภาพ ทำงานเป็นทีม
                3.เน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
                4.นำข้อมูลมาตัดสินใจ
                5.เน้นส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก
3.5 เข็มมุ่งปี 2554-2555
                1.องค์กรเข้มแข็ง พัฒนาระบบบริหารจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
                2.บริการสุขภาพแบบองค์รวมให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
                3.ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง  มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสุขภาพที่ยั่งยืน
4. วัตถุประสงค์และจุดเน้น
        4.1 แผนยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน
               
ลำดับ
ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
วัตถุประสงค์
กิจกรรม
ตัวชี้วัด
งบประมาณ
หน่วยงานรับผิดชอบ
1.






2.







1.พัฒนาระบบคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็กโดยชุมชนมีส่วนร่วม


2.พัฒนาสุข ภาพ ประชา ชนและศักยภาพความเข้มแข็งของเครือข่าย















1.ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์


1.ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน










1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูก ต้องเหมาะสม


1.เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม








1.หญิงตั้งภรรค์และสามี มีส่วนร่วมเข้าร่วกระบวนการ ร.ร.พ่อแม่


1.ลดอาหาร หวาน มัน เค็มห่างไกลความดัน/เบาหวาน



2.ผู้ปกครองใส่ใจ ป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็ก 0 5 ปี

3.ชุมชนวัดต้านภัยไข้เลือดออก




1.ร้อยละ 95 ของหญิงตั้งครรภ์มารับบริการตามมาตรฐาน ANCคุณภาพ

1.ร้อยละ95ได้รับการตรวจคัดกรองความดัน/เบาหวาน
2.อัตราผู้ป่วยความดัน/เบา หวานรายใหม่ไม่เกินละ 10
อัตราป่วยโรค อุจจาระร่วงไม่เกิน 500/ประชา กรแสนคน

อัตราป่วยโรค ไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 20 ของ MDย้อนหลัง 5 ปี







50,000 บ.
(กองทุนอบต.วัด)




20,000 บ.
(กองทุนอบต.วัด)





5,000 บ.
(กองทุนอบต.วัด)


30,000 บ.
(กองทุนอบต.วัด)




รพ.สต.วัด






รพ.สต.วัด







รพ.สต.วัด




รพ.สต.วัด


















        4.2 ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ที่เป็นจุดเน้น
1.งานอนามัยแม่และเด็ก
-ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
-การฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
2. โรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญ
-โรคอุจจาระร่วงในเด็ก 0-5 ปี
-โรคไข้เลือดออก
3.โรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญ
-โรคความดันโลหิตสูง
-โรคเบาหวาน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น